StrengthsFinder กับการสร้างทีมแกร่งด้วยพลังของจุดแข็ง
ในโลกขององค์กรที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การเข้าใจและใช้ประโยชน์จากศักยภาพของพนักงานแต่ละคนอย่างเต็มที่ เป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างทีมที่แข็งแกร่งและองค์กรที่ประสบความสำเร็จ เครื่องมือ Strengths Finder (หรือ Clifton Strengths) จึงกลายเป็นเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้ผู้นำและองค์กรเข้าใจจุดแข็งของทีม และนำไปสู่การพัฒนาที่เป็นระบบ
StrengthsFinder คือเครื่องมือที่ถูกพัฒนาโดย Gallup เพื่อช่วยให้ผู้คนค้นพบ 34 Talent Themes หรือความถนัดตามธรรมชาติที่แฝงอยู่ในตัวเรา แต่ละธีมสะท้อนถึงวิธีคิด การตัดสินใจ และการทำงานที่แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น read more..
Strength Finder กับการพัฒนาตัวเอง
StrengthsFinder กับการพัฒนาตัวเอง: ก้าวสู่ศักยภาพที่ดีที่สุดในแบบของคุณ
ในเส้นทางของการพัฒนาตัวเอง หลายคนมักมองหาคำตอบว่า “ฉันควรพัฒนาสิ่งใดเพื่อให้ก้าวหน้า?” หรือ “ฉันมีความสามารถอะไรที่สามารถนำไปต่อยอดได้?” คำตอบอาจซ่อนอยู่ในเครื่องมือที่เรียกว่า StrengthsFinder (หรือ Clifton Strengths) ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้เราค้นพบและใช้ศักยภาพที่ซ่อนอยู่ในตัวเองเพื่อสร้างความสำเร็จที่ยั่งยืน read more..
รู้เขา รู้เรา ด้วยเครื่องมือ StrengthsFinder: กุญแจสู่ความสำเร็จที่แท้จริง
ในโลกที่ความสามารถและความแตกต่างของแต่ละคนเป็นพลังสำคัญที่ขับเคลื่อนองค์กรและสังคม เครื่องมือ Clifton Strengths (หรือ StrengthsFinder) ได้รับการยอมรับว่าเป็นหนึ่งในเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพที่สุดในการช่วยให้เรารู้จักและพัฒนาศักยภาพของตัวเองและผู้อื่น read more..
การบริหารโครงการ ในองค์กรที่เป็น Silo Culture
ในบทความที่แล้ว ผมได้อธิบายถึง ลักษณะของ Silo Culture หรือ วัฒนธรรมการทำงานแบบ ไซโล ไปแล้ว ในบทความนี้ ผมจะอธิบายถึง แนวทาง การปรับตัว และรับมือ หากท่านต้อง เป็น Project Manager ที่ ทำงาน ในองค์กร ที่มีวัฒนธรรมการทำงาน แบบ Silo Culture เพื่อให้โครงการของเรา ดำเนินการไปได้ สำเร็จตามเป้าหมาย read more..
Silo Culture อุปสรรคสำคัญของการบริหารโครงการ
Silo Culture หรือ วัฒนธรรมการทำงานแบบ ไซโล คือพฤติกรรม ของการทำงาน แบบแยกส่วนงาน โดยฝ่ายงานหรือแผนกงานต่างๆ ในองค์กร จะทำงานเฉพาะ Job Description ของหน่วยงานตนเองเท่านั้น ไม่ยอมแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน สร้างกระบวนการที่เป็นอุปสรรคในการประสานงานร่วมกันระหว่างหน่วยงาน ยึดถือเป้าหมายเฉพาะส่วนงานของตนเอง แต่ไม่สนใจเป้าหมายในภาพรวมขององค์กร ซึ่งจะส่งผลต่อการบริหารโครงการ อย่างไร read more..
กระต่าย กับ เต่า ใน ITIL Framework
ITIL Framework ประกอบไปด้วย บุคคลหลายบทบาทหน้าที่ มาทำงานร่วมกัน เพื่อบริหารจัดการ IT Service ให้องค์กร บางบทบาทต้องทำงานเร็วแข่งกับเวลา บางหน้าที่ต้องละเอียดรอบคอบ ช้าแต่ชัวร์ ในบทความนี้ เราจะมาดูกันครับ ว่างานไหนเหมาะกับกระต่าย และงานไหนเต่าจะได้เปรียบ read more..
เปรียบเทียบเส้นทางอาชีพ PMP และ ITIL Certified
Certified Project Management Professional (PMP) และ Certified Information Technology Infrastructure Library (ITIL) เป็นใบรับรอง ที่สามารถเพิ่มโอกาส และความก้าวหน้าในสายอาชีพ ของเราได้ โดย PMP จะเน้นในเรื่องการบริหารโครงการ ส่วน ITIL จะเน้นในเรื่อง การบริหาร IT Service แม้ว่า ใบรับรองทั้งสอง จะมุ่งเน้นไปที่ ความเชี่ยวชาญที่แตกต่างกัน แต่ก็สามารถส่งเสริมซึ่งกันและกันและเปิดโอกาส ในการทำงานที่หลากหลายมากขึ้น บทความนี้ จะลงรายละเอียดเพื่อเปรียบเทียบเส้นทางอาชีพที่เกี่ยวข้องกับ ใบรับรอง PMP และ ITIL read more..
ทำไม IT Project Manager จึงจำเป็นต้องเข้าใจ ITIL Process
ITIL Process คือ Framework หรือ กระบวนการ ที่เป็น Best Practice ในการบริหารจัดการ IT Service ขององค์กร และภารกิจหลัก ของ Project Manager ในโครงการด้านไอที ก็คือการส่งมอบระบบงานไอทีให้กับองค์กร ไม่ว่าจะเป็นโครงการด้านการพัฒนา Software Application โครงการปรับปรุงหรือติดตั้ง IT Infrastructure หรือโครงการด้าน IT Security เป็นต้น การที่ IT Project Manager จำเป็นต้องเข้าใจ ITIL Process เพื่อช่วยในการบริหารโครงการ ก็ด้วยเหตุผลต่างๆ หลายประการ ดังนี้ read more..
ความแตกต่างระหว่าง Change Control Board และ Change Advisory Board ในโครงการด้านไอที
โครงการด้านไอที เช่น การพัฒนา Software Application หรือ การปรับปรุง IT Infrastructure ต่างๆ นั้น Project Manager มักจะต้องทำงานร่วมกับ Change Control Board (CCB) และ Change Advisory Board (CAB) ซึ่งบ่อยครั้ง เกิดความสับสนในบทบาทหน้าที่ของ กลุ่มบุคคล 2 กลุ่มดังกล่าวข้างต้น บทความนี้ จะขออธิบาย บทบาทหน้าที่ ของทั้ง CCB และ CAB เพื่อใช้เป็นแนวทางในการทำงาน ให้กับ PM ที่ต้องบริหารโครงการด้านไอที read more..
ก้าวกระโดดของ Generative AI กับความท้าทายที่องค์กรต้องเผชิญ
การเกิดขึ้นมาของ Generative AI (Gen-AI) ช่วยจุดประกายนวัตกรรมให้กับธุรกิจได้อย่างไร้ขีดจำกัด แต่ก็อาจแฝงไปด้วยความท้าทายที่คาดไม่ถึงเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นปัญหา Deepfakes, Bias Amplification, หรือ Hallucination บทความนี้จึงขอชวนทุกท่านมาสำรวจตัวอย่างการใช้งานและความเสี่ยงที่องค์กรต้องเผชิญ รวมถึงทำความรู้จักเบื้องต้นกับมาตรการที่สามารถนำไปปรับใช้ เพื่อเป็นจุดตั้งต้นในการบริหารจัดการให้ประสบความสำเร็จได้ตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ read more..
พร้อมแล้วหรือยัง? หากต้องรับการตรวจ สธ.38
แนวทางเตรียมความพร้อมสำหรับประกาศ ก.ล.ต. ที่ สธ. 38/2565
ตั้งแต่ประกาศ ก.ล.ต. ที่ สธ. 38/2565 ถูกบังคับใช้เมื่อเดือนกรกฎาคม 2566 ผู้ประกอบธุรกิจแต่ละรายภายใต้ขอบเขตของประกาศ มีหน้าที่ต้องนำส่งผลประเมิน RLA (Risk Level Assessment) และผลการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) ภายใต้เงื่อนไขและกรอบระยะเวลาที่กำหนด* ซึ่งลำดับถัดไปจะเป็นการแจ้งกำหนดการเข้าตรวจสอบรายบริษัทของผู้ประกอบธุรกิจ (บริษัท) โดย ก.ล.ต. ต่อไป ซึ่งบางบริษัทอาจมีความกังวลว่า แล้วบริษัทของตนเองมีความพร้อมจริงๆ หรือยัง? หรือจะถูกพบประเด็นที่มีนัยสำคัญจากการตรวจสอบหรือไม่? อย่างไรก็ตาม หากมีการเตรียมความพร้อมที่ดีเพียงพอ ก็จะช่วยลดความกังวลและเพิ่มความมั่นใจว่าจะผ่านกระบวนการตรวจสอบได้อย่างราบรื่น และได้รับผลการตรวจสอบตามที่ตั้งใจไว้ ดังนั้น บทความนี้จึงขอมาแบ่งปันแนวทางเบื้องต้นในการเตรียมความพร้อมสำหรับรับการตรวจสอบ เพื่อให้ลองนำไปปรับใช้ตามบริบทของแต่ละบริษัท ดังนี้ read more..
7 ขั้นตอนในการจัดการ เมื่อลูกค้าขอเพิ่มความต้องการ ที่นอกเหนือจากขอบเขตงานโครงการ
การจัดการความต้องการเพิ่มเติมจากลูกค้า ซึ่งเป็นความต้องการ ที่อยู่นอกเหนือจาก ขอบเขตงานโครงการ อาจเป็นเรื่องที่ท้าทาย แต่เป็นสถานการณ์ทั่วไป ที่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง ในการบริหารโครงการ หลายครั้ง Project Manager ประสบปัญหาในการบริหารเวลา และงบประมาณโครงการ เพราะต้องเผชิญกับปัญหานี้ ในบทความนี้ ผมจะขอนำเสนอ เป็นแนวทางทีละขั้นตอนในการจัดการกับสถานการณ์ดังกล่าว read more..
ข้อมูลสำคัญ ที่ Business Analyst (BA) ต้องบันทึกใน Software Requirement Spec.
โครงการ พัฒนา Software Application คือการนำความต้องการของผู้ใช้งาน มาสร้างเป็น Software เพื่อสนับสนุนการทำงาน ดังนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างมาก ที่จะต้องทำการรวบรวมความต้องการ จากผู้ใช้งาน และผู้ที่เกี่ยวข้องต่างๆ เพื่อนำมาสร้างเป็น Software Application และอุปสรรคประการสำคัญ ของโครงการดังกล่าว คือ การสื่อสารที่ผิดพลาด ระหว่าง ผู้ให้ความต้องการ กับ ผู้ที่มีหน้าที่พัฒนา Software ส่งผลให้ โครงการ ล่าช้า หรือไม่เป็นไปตามเป้าหมายทางธุรกิจ read more..
เราจะเปลี่ยน Accidental Project Manager ให้เป็น Professional Project Manager ได้อย่างไร ตอนที่ 1
ในบทความก่อนหน้านี้ผมได้เขียนอธิบายถึง Accidental Project Manager ไปแล้ว กล่าวโดยสรุป Accidental Project Manager คือ คนที่ต้องมารับหน้าที่เป็นผู้บริหารโครงการ โดยที่ตัวเองยังขาดความพร้อม ทั้งความรู้ ทักษะ ด้านการบริหารโครงการ ในบทความนี้ เราจะอธิบายถึง ทางแก้ไข ของปัญหาข้างต้น ทั้งในมุมมองของพนักงาน และในมุมมองขององค์กร read more..
Accidental Project Manager คืออะไร
จากบทความก่อนหน้านี้ ผมได้อธิบายถึงความสำคัญของ Project Management ต่อการพัฒนาองค์กรไปแล้ว ซึ่งก็พอจะสรุปได้ว่า ในทุกๆธุรกิจ จะต้องมีงานโครงการให้ทำเสมอ และจำนวนงานที่เป็นลักษณะโครงการ ก็จะมากขึ้นเรื่อยๆ ในทุกๆปี ด้วยเหตุนี้ จึงส่งผลต่อเนื่อง ให้พนักงานในองค์กร ต้องมารับบทบาทหน้าที่ เป็น Project Manager หรือผู้จัดการโครงการไปโดยปริยาย ไม่ว่าจะเต็มใจหรือไม่เต็มใจ และไม่ว่าจะมีความพร้อมหรือไม่ ก็ตาม เราเรียก Project Manager ที่ตกอยู่ในสภาวะนี้ว่า read more..
Project Management สำคัญอย่างไร ต่อองค์กร
ในบทความก่อนหน้านี้ ผมได้อธิบายไปแล้ว ว่า องค์กรรุ่นใหม่ จะมีงานที่เป็นลักษณะงานโครงการ มากขึ้น เนื่องจากสาเหตุอะไรบ้าง และสิ่งที่เป็นคำถามตามมาคือ องค์กร จำเป็นจะต้องมีทักษะ และความสามารถด้านการบริหารโครงการ หรือ Project Management Skill หรือไม่ หรืออีกนัยหนึ่ง ความสามารถด้าน Project Management นั้น สำคัญต่อองค์กร อย่างไร เราจะมาลงรายละเอียดกัน ในบทความนี้ครับ read more..
ทำไมองค์กรรุ่นใหม่ จึงมีงานลักษณะเป็นโครงการมากขึ้น
งานลักษณะโครงการ หรือ Project-Based คืองานที่ต้องทำเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เป็นภารกิจพิเศษ ที่ไม่ใช่งานประจำ และต้องส่งมอบงานได้ ตามขอบเขตงาน ภายใต้กำหนดเวลา งบประมาณ และคุณภาพที่คาดหวัง หรืออาจจะเรียกงานลักษณะ Project-Based ที่ต้องทำภารกิจพิเศษนี้ว่า Mission-Based PMO read more...
6 เรื่อง ที่ PMO ไม่ควรทำ
ผมได้เขียนบทความ แนะนำ บทบาทหน้าที่ ของ PMO ไปแล้ว ในหลายบทความก่อนหน้า โดยในบทความนี้ ผมจะขออธิบายถึง สิ่งที่ PMO ต้องพึงระวัง และไม่ควรทำ เพื่อเป็นแนวทางให้ PMO หลายๆท่าน ระมัดระวัง ในการปฏิบัติงาน รวมถึงเป็นการหลีกเลี่ยง ผลกระทบด้านลบ ที่อาจจะเกิดขึ้น กับหน่วยงาน PMO read more...
8 ขั้นตอน ในการจัดทำ PMO Roadmap
ในบทความก่อนหน้านี้ ผมได้เขียนอธิบายถึง ความสำคัญของ PMO Roadmap และ สิ่งที่ต้องกำหนดให้ชัดเจนใน PMO Roadmap ไปแล้ว ในบทความนี้ จะขอแนะนำ แนวทางการจัดทำ PMO Roadmap รวมถึงประเด็นต่างๆ หรือ ขั้นตอนที่ต้องดำเนินการ ในการจัดทำ PMO Roadmap เพื่อให้หลายท่านที่เป็น PMO ได้นำไปประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการ หน่วยงาน PMO read more...
PMO Roadmap คืออะไร และสำคัญอย่างไร
กระแสการจัดตั้ง หน่วยงาน Project Management Office หรือ PMO ในองค์กรนั้น ได้รับความนิยมอย่างมาก ในช่วงหลายสิบปี ที่ผ่านมา และสิ่งที่เป็นปัญหา ลำดับต้นๆ ของการจัดตั้ง หน่วยงาน PMO นั่นคือ ความคาดหวังของผู้บริหาร และหน่วยงานอื่นๆ ที่ต้องการให้ PMO ปฏิบัติหน้าที่อย่างไร ในองค์กร และการกำหนด Job Description ของ PMO นั้น ต้องพิจารณา ปัจจัยและบริบทต่างๆ หลายประการ เช่น ลักษณะโครงสร้างองค์กร จำนวนโครงการในองค์กร จำนวน Project Manager ในองค์กร จำนวนพนักงานในฝ่ายงาน PMO และ ความพร้อมของบุคคลกรในองค์กร ทั้งในเรื่องความรู้และความสามารถในการบริหารโครงการ หาก PMO ไม่สามารถบริหารจัดการ ความคาดหวังของ CEO และผู้บริหารจากหน่วยงานต่างๆได้ ก็จะส่งผลให้หน่วยงาน PMO อาจจะถูกประเมินว่า ไม่มีประโยชน์ หรือไม่สามารถสร้างคุณค่าให้กับองค์กรได้ และส่งผลให้หน่วยงาน PMO ถูกยกเลิกไปในที่สุด read more...
8 เรื่อง ที่ PMO ต้องทำ เพื่อบริหารความคาดหวังของ CEO
ในหลายบทความก่อนหน้านี้ ผมได้เขียนอธิบายถึง PMO หรือ Project Management Office ไปในหลายหัวข้อ และ หลายมุมมอง เช่น แนวทางการบริหารความขัดแย้ง เมื่อ PMO ต้องรายงานสถานะโครงการที่มีปัญหา ให้ผู้บริหารทราบ หรือ บทบาทหน้าที่ ของ PMO ไปแล้ว ในบทความนี้ ผมจะขอนำหัวข้อเรื่อง วิธีการ ที่ PMO ใช้ ในการบริหารความคาดหวัง ของ CEO หรือ ผู้บริหารระดับสูงขององค์กร และจากประสบการณ์ในการให้คำปรึกษา ในการจัดตั้ง และบริหารจัดการ หน่วยงาน PMO ในหลายองค์กร ผมพบว่า PMO เป็นหน่วยงาน ที่ถูกคาดหวัง จากผู้บริหาร ให้ สามารถ เปลี่ยนแปลง และพัฒนา การบริหารโครงการ ให้มีประสิทธิภาพ ภายในระยะเวลา อันสั้น ด้วยทรัพยากร ที่จำกัด โดยทั่วไป CEO หรือ ผู้บริหาร จะคาดหวังกับ PMO ในหลายเรื่อง เช่น read more...
การบริหารความขัดแย้ง เมื่อ PMO ต้องรายงาน สถานะ ของโครงการที่มีปัญหา ให้ CEO ทราบ
ในหลายบทความก่อนหน้านี้ ผมได้เขียนอธิบายถึง บทบาทหน้าที่ ของ Project Management Office หรือ PMO ไปแล้ว และจากประสบการณ์ในการให้คำปรึกษา ในการจัดตั้ง และบริหารจัดการ หน่วยงาน PMO ในหลายองค์กร ผมพบว่า PMO เป็นหน่วยงาน ที่ต้องเผชิญกับความขัดแย้งต่างๆ ค่อนข้างสูง ทั้งความขัดแย้ง ที่เกิดมาจากการที่ต้องไปกำกับดูแลการบริหารโครงการ ของ Project Manager ภายในองค์กร และภายนอกองค์กร หรือ ความขัดแย้งที่เกิดมาจากความคาดหวังของผู้บริหาร ที่ต้องการให้ PMO ผลักดันให้โครงการทั้งหมดขององค์กร บรรลุตามเป้าหมาย รวมไปถึง ความขัดแย้งที่เกิดมาจาก การรายงาน สถานะโครงการทั้งหมดขององค์กร ให้ผู้บริหารทราบ ในกรณีที่ มีบางโครงการ มีสถานะ ที่ล่าช้า หรือเกิดปัญหาในโครงการ read more...
การเข้าใจ วัฒนธรรมองค์กร คือสิ่งจำเป็นในการ บริหาร Stakeholder ในโครงการ
คำว่า Stakeholder หรือ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในโครงการนั้น หมายถึง บุคคล กลุ่มบุคคล หรือองค์กร ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการ หรือสามารถสร้างผลกระทบให้โครงการได้ และมักจะเข้ามายุ่งเกี่ยวกับโครงการ เพื่อเพิ่มส่วนได้ และลดส่วนเสียของตัวเอง โดยบุคคลหรือ กลุ่มบุคคลดังกล่าว มักจะมาพร้อมความคาดหวัง และระดับอำนาจที่แตกต่างกัน การบริหารจัดการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในโครงการ คือการบริหารความคาดหวังของเขาเหล่านั้น เพื่อให้โครงการได้รับการสนับสนุน จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหลัก read more...
การถอดบทเรียนโครงการ คือกุญแจสำคัญ ในการพัฒนาการบริหารโครงการ ในองค์กร
หากจะอ้างอิง ถึง วงจรการพัฒนาคุณภาพ อย่าง P-D-C-A หรือ Plan-Do-Check-Act แล้ว การถอดบทเรียนโครงการ ก็จะเปรียบได้กับขั้นตอน การ Check ในวงจร P-D-C-A โดยจุดประสงค์หลักของ การถอดบทเรียนโครงการ หรือการทำ Project Lesson Learned นั้น ก็เพื่อเรียนรู้ทั้งเรื่อง ที่สำเร็จ และ เรื่องที่ล้มเหลว ในโครงการ เพื่อนำไป ต่อยอดในสิ่งที่ประสบความสำเร็จ และนำไปปรับปรุงแก้ไข ในสิ่งที่ล้มเหลว read more...
ความแตกต่างระหว่าง ความรับผิดชอบ และการทำงานแบบเชิงรุก
การบริหารโครงการนั้น เป็นงานที่ต้องมีการวางแผนงานร่วมกัน ระหว่าง Project Manager และ ทีมงานโครงการ โดยทุกคนมีหน้าที่ ต้องทำงานที่ตัวเอง ได้รับมอบหมาย ให้เสร็จตามกำหนดเวลา และได้คุณภาพ รวมถึงครบตามขอบเขตงาน ดังนั้น ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตัวเอง จึงถือเป็นปัจจัยสำคัญที่ Project Manager และทีมงาน ต้องมี เพื่อให้งานลุล่วงไปตามแผนงาน แต่เหนือไปกว่าความรับผิดชอบต่องานของตนเอง เรายังคาดหวังให้ทุกคนในโครงการ มีวิธีการทำงานแบบ เชิงรุก หรือ Proactive เพื่อ read more...
องค์กรของคุณ บริหารโครงการ ได้ดีแล้วหรือไม่ เขาดูกันอย่างไร
ความสามารถในการบริหารโครงการ ขององค์กร หรือ Organizational Project Management Capabilities (OPMC) ถือเป็นปัจจัยความสำเร็จประการสำคัญ ในการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับองค์กร โดยเฉพาะในโลกยุคปัจจุบัน ที่ธุรกิจต้องเผชิญกับความท้าทายต่างๆ มากมาย เช่น read more...